คนยุคใหม่ไม่นิยมมีลูก เด็กเกิดใหม่น้อย ถึงจุดวิกฤติ ปัญหาเด็กเกิดน้อย

ปัญหาเด็กเกิดน้อย สาเหตุที่คนไทยมีลูกน้อยลง อัตราการเกิดลดลง ผลกระทบ ประชากรเกิดน้อยลง ส่งผลอย่างไรกับเศรษฐกิจ การมีประชากร น้อย ก่อ ให้เกิด ผล เสีย คือ ประชากรไทยลดลง อัตราการเกิดน้อย 

 

ปัญหาเด็กเกิดน้อย อย่างที่รู้กันว่าประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่ “สังคมผู้สูงอายุ” โดยสมบูรณ์ แต่นั่นไม่ใช่ประเด็นเดียวที่ต้องเตรียมพร้อมรับมือ สาเหตุที่คนไทยมีลูกน้อยลง เพราะในอีกมุมหนึ่ง ไทยยังพบปัญหา “เด็กเกิดใหม่” น้อยลง เพียง 5 แสนคนในปี 2565 ซึ่งถือเป็นอัตราการเกิดที่อยู่ในจุดวิกฤติในสังคม

 

ปัญหาเด็กเกิดน้อย

 

อัตราการเกิดลดลง ผลกระทบ

“ทำไมคนไทยมีลูกน้อยลง ?” กรมอนามัย ระบุถึงสาเหตุ เด็กเกิดน้อย ว่า วิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป คนรุ่นใหม่แต่งงานช้าลง อัตราการเกิดลดลง ผลกระทบ เรียนสูงขึ้น มีค่านิยมอยู่เป็นโสด มีความหลากหลายทางเพศ ความต้องการมีบุตรและจำนวนบุตรที่ต้องการเปลี่ยนไป มองเป็นภาระ อีกทั้ง มาตรการที่จูงใจให้คนต้องการมีบุตรมีน้อยและมาตรการที่มีอยู่ไม่สามารถจูงใจให้คนอย่างมีบุตรได้

 

ปัญหาเด็กเกิดน้อย

 

ประชากรไทยลดลง

รวมถึง สภาพสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและโรคอุบัติใหม่ ส่งผลให้คนชะลอการมีบุตร ประชากรเกิดน้อยลง ส่งผลอย่างไรกับเศรษฐกิจ และ คนที่อยากมีบุตรประสบปัญหา ภาวะมีบุตรยาก และไม่สามารถเข้าถึงบริการช่วยเหลือภาวะมีบุตรยากได้ เมื่อเด็กเกิดน้อยลง จะกระทบอะไร ?

 

ก่อนอื่นต้องมาดูอัตรา “เด็กเกิดใหม่” ในช่วงที่ผ่านมากันก่อน อัตราเด็กเกิดใหม่ ปี 2556 อยู่ที่ 780,000 คน ในปี 2563 พบว่าอยู่ที่ 569,338 คน อัตราเจริญพันธุ์รวม การมีประชากร น้อย ก่อ ให้เกิด ผล เสีย คือ (TFR) อยู่ที่ 1.24 และมีแนวโน้มจะลดลงไปอีก สัดส่วนประชากรวัยเด็กและวัยทำงานมีแนวโน้มลดลง ในขณะที่ประชากรวัยสูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น

 

ปัญหาเด็กเกิดน้อย

 

อัตราการเกิดน้อย

ในปี 2564 เด็กเกิดใหม่ลดลงเหลือเพียง 544,570 คนอัตราการเจริญพันธุ์ต่ำมากอยู่ที่ 1.51 คน ประชากรไทยลดลง สวนทางกับสังคมผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น ในปี 2565 อัตราเด็กเกิดใหม่อยู่ที่ 5 แสนคน และคาดว่าปี 2566 จะมีอัตราเด็กเกิดใหม่ 5 แสนกว่าคน

 

ข้อมูลชี้ชัดว่า อัตราการเกิดลดลงไปถึง 35.7% และเป็นอัตราการเกิดใหม่ต่ำมา 2 ปีแล้ว สอดคล้องกับ อัตราการเกิดน้อย  ข้อมูลจาก “กรมอนามัย” อัตราการเกิดต่ำกว่า 6 แสนคน ถือเป็นอัตราการเกิดที่วิกฤตในสังคม ผลกระทบที่ตามมา คือ ปี 2564 วัยแรงงาน 3.4 คนต่อผู้สูงอายุ 1 คน และคาดว่าปี 2583 วัยแรงงาน 1.7 คนต่อผู้สูงอายุ 1 คน ทำให้จำนวนผู้เสียภาษีน้อยลง งบประมาณในการดูแลประชากรไม่เพียงพอ ปัญหาเด็กเกิดน้อย

 

 

ขอบคุณเครดิต bangkokbiznews

 

 

ข่าวสารเพิ่มเติม